Not known Factual Statements About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

ความเคลื่อนไหว จดหมายข่าวถึงเพื่อนภาคี

เมื่อความเสมอภาค เป็นเรื่องยากสำหรับการศึกษา

ดร.ไกรยส ภัทราวาท : พลังของทุกคน คือ ผู้เปลี่ยนเกมความเสมอภาคการศึกษาอย่างแท้จริง

ความเหลื่อมล้ำของคุณภาพการศึกษาระหว่างโรงเรียนในเมือง-ชนบท:

เนื่องจากในอนาคตมีแนวโน้มที่ประเทศต่างๆ จะมีการติดต่อทำธุรกิจ และกิจกรรมต่างๆ อย่างเสรี ทำให้สถาบันทางการศึกษาหลายแห่งมีการเปิดการเรียนการสอนในหลักสูตรนานาชาติ เพื่อพัฒนาผู้เรียนทั้งสาขาตามความถนัด และทักษะด้านภาษาควบคู่กันไป เพื่อทำให้อนาคตของการติดต่อสื่อสารระหว่างต่างประเทศมีความลื่นไหลมากยิ่งขึ้น

ดร.อารี อิ่มสมบัติ : ปักหมุดจุดเหลื่อมล้ำโรงเรียนในพื้นที่ห่างไกล จากดอยสูง จ.เชียงราย ถึงแดนใต้ จ.สุราษฎร์ธานี

ตชด. ที่ทำหน้าที่เป็นนักพัฒนาชุมชน ทำให้โรงเรียนเป็นศูนย์กลางของความร่วมมือ และสร้างความยั่งยืนให้กับชุมชนในพื้นที่และใกล้เคียง  

ผลลัพธ์คือเงื่อนไขด้านสภาพที่อยู่อาศัยสามารถคัดกรองนักเรียนยากจนได้มากที่สุดดังคาด แต่การเก็บข้อมูลดังกล่าว จำเป็นต้องถ่ายภาพประกอบ จึงเกิดปัญหาเรื่องการเดินทางไปเยี่ยมบ้านนักเรียน โดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกลหรือบนเขาบนดอยนั้นมีความยากลำบาก และน่ากังวลเรื่องความปลอดภัยของครู อีกทั้งบางกรณี สภาพบ้านอาจไม่สามารถสะท้อนความยากจนของตัวนักเรียนได้ เพราะมีนักเรียนบางกลุ่มอาศัยกับญาติที่มีบ้านหลังใหญ่โต หรือมีปัจจัยด้านวัฒนธรรมอย่างชนเผ่าม้งที่นิยมสร้างบ้านด้วยไม้ไผ่และวัสดุธรรมชาติ ทำให้แม้สอดคล้องกับเงื่อนไข แต่ไม่ได้มีสถานะยากจนจริง

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ปัญหา และแนวทางแก้ไข

ด้วยนักเรียนที่โรงเรียนเป็นเด็กชาติพันธุ์การใช้ภาษาไทยส่วนใหญ่จะอยู่ที่โรงเรียนเป็นหลัก พอกลับบ้านเด็ก ๆ จะแทบไม่ได้ใช้ภาษาไทย และยิ่งช่วงโควิดประกาศปิดการเรียนการสอน ทำให้ไม่สามารถมาเรียนได้และด้วยข้อจำกัดในการสื่อสารการเรียนการสอนออนไลน์ตัดขาดไปโดยปริยาย แต่ยังมีความโชคดีที่มีสื่อการเรียนการสอนพระราชทานในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า ฯ  เป็นสื่อการเรียนการสอน-แบบฝึกหัดแบบออฟ-ไลน์ พกติดไปเวลาเยี่ยมบ้านพร้อมแบบฝึกหัดภาษาไทยเพื่อให้เด็กใช้ทบทวนและเรียนรู้ และในทุก ๆ สัปดาห์ครูอุ้ยจะเข้าไปเก็บกลับเพื่อตรวจการบ้านและนำชุดการเรียนรู้และแบบฝึกหัดชุดใหม่ไปให้เด็ก ๆ ทบทวน เพื่อเตรียมความพร้อมหากพ้นช่วงสถานการณ์โควิดแล้ว เด็ก ๆ จะไม่ลืมภาษาไทยที่เป็นภาษาหลักที่ใช้สื่อสารในโรงเรียน 

การมอบเงินช่วยเหลือเป็นเพียงจุดเริ่มต้นการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาที่ตรงไปตรงมาและเป็นรูปธรรม ทว่า ในท้ายที่สุดแล้ว หัวใจสำคัญของการแก้ไขความเหลื่อมล้ำ ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ย่อมเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตของครัวเรือนไทย การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอย่างการคมนาคม เครือข่ายการสื่อสาร การเติบโตทางเศรษฐกิจและอื่นๆ จึงเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้สำหรับการมอบโอกาสทางการศึกษาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง

สร้างมาตรฐานขั้นต่ำ – แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ

ความเคลื่อนไหว จดหมายข่าวถึงเพื่อนภาคี

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *